NARIT
เนื้อหาล่าสุด
26 พ.ค.นี้ เตรียมชม ‘จันทรุปราคาบางส่วน’ ต้อนรับคืนวิสาขบูชา
นักวิทย์พบ ‘ร่องรอย’ การชนกันของหลุมดำที่อาจไขปริศนาของเอกภพ+เปิดทฤษฎีใหม่ที่เหนือกว่าไอน์สไตน์!
ทีมนักดาราศาสตร์ที่ทำงานในโพรเจกต์ ‘NANOGrav pulsar timing array’ นำข้อมูลจำนวนมหาศาลมาวิเคราะห์แล้วพบว่า มันมีค่าคลาดเคลื่อนเล็ก ๆ (Tiny deviations) ...อ่านต่อ
NARIT ชวนติดตาม 10 เรื่องดาราศาสตร์เด่นในปี 2020
เหมายัน กลางคืนยาวที่สุดแห่งปี คือวันนี้ (21 ธ.ค.) นะ รู้ยังงง
วนมาอีกครั้งกับวันที่กลางคืนยาวนาน และกลางวันมีช่วงเวลาสั้นที่สุดในรอบปี กับวันเหมายัน (อ่านว่า เห-มา-ยัน นะ อย่าอ่านว่า เหมา ล่ะ อายเขา) 21 ธันวาคม 2563 นอกจากกลางคืนจะสั้นแล้ว ...อ่านต่อ
20-23 ธ.ค. นี้ มาส่อง ‘ดาวพฤหัสเคียงดาวเสาร์’ ใกล้ที่สุดในรอบ 397 ปี ส่งท้ายปีกันเถอะ!
ก่อนจะสิ้นสุดปี 2020 ปีที่มีเรื่องราวหลากหลาย ก็ยังมีอีกหนึ่งปรากฏการณ์ดาราศาสตร์ที่น่าตื่นเต้นอีกหนึ่งปรากฏการณ์ให้เราได้ติดตามส่งท้ายปี นั่นก็คือ ปรากฏการณ์ ‘ดาวพฤหัสบดี’ เคียง ...อ่านต่อ
NARIT ชวนชมฝนดาวตกส่งท้ายปี พร้อมจัดจุดชมเอาใจคนรักดาว 13-14 ธ.ค. นี้
ดินและหินจากดาวเคราะห์น้อยริวงูที่สำรวจโดยยาน Hayabusa 2 ถึงโลกแล้ว!
หลังจากยานอวกาศฮายาบูสะ 2 (Hayabusa 2) ทะยานขึ้นสู่อวกาศในเดือนธันวาคม ปี 2014 และเดินทางไปถึงดาวเคราะห์น้อยริวงู (Ryugu) เมื่อวันที่ 27 มิถุนายน 2018 ...อ่านต่อ
30 พ.ย.นี้ อย่าลืมส่อง ‘จันทรุปราคาเงามัวครั้งสุดท้ายของปี’
รวม ‘มหัศจรรย์ภาพถ่ายดาราศาสตร์ 2020’ อวดฝีมือคนไทยในงานมหกรรมวิทย์ฯ
มาแล้วว ราชาแห่งฝนดาวตก ‘ลีโอนิดส์’ ตามส่องคืน 17-18 พ.ย. นี้
ครั้งแรก! พบการระเบิดของพลังงานวิทยุลึกลับในกาแล็กซีของเราเอง
4 พ.ย. 63 – งานวิจัยในวารสาร Nature รายงานว่า นักดาราศาสตร์ตรวจจับการระเบิดของคลื่นวิทยุอย่างรวดเร็วในทางช้างเผือกของเราเองได้เป็นครั้งแรก ซึ่งอยู่ใกล้โลกกว่า FRB ...อ่านต่อ
ตะลึง! นาซาแถลง ‘พบน้ำบนดวงจันทร์’ อาจนำไปสู่การเป็นเชื้อเพลิงสำรวจอวกาศในอนาคต
เวียนมาอีกครั้งกับ ‘ฝนดาวตกโอไรออนิดส์’ นอนชมคืนนี้ (21 ต.ค.63) จนถึงรุ่งเช้า
สถาบันวิจัยดาราศาสตรืแห่งชาติ (องค์การมหาชน) ชวนชม “ฝนดาวตกโอไรออนิดส์” หรือฝนดาวตกกลุ่มดาวนายพราน คืน 21 ตุลาคม 2563 ตั้งแต่เวลาประมาณ 23.00 น. จนถึงรุ่งเช้า ...อ่านต่อ